บทความ
การศึกษาเพื่อความแปลกแยก ตอนที่ 3
รัฐ ; เครื่องมือของทุนนิยม (แล้วการศึกษาล่ะ?)
สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพยายามรวบรวมหัวเมืองน้อยใหญ่ที่เรียกว่า “ราชอาณาจักรไทย” ให้เป็นปึกแผ่น นั่นก็คือ ทำให้เป็น “รัฐ” และเป็น “รัฐสมัยใหม่” ตามแบบอย่างประเทศตะวันตกทั้งหลาย พร้อมกับการเป็นรัฐสมัยใหม่ พระองค์ก็ต้องพัฒนาประเทศให้ “ทันสมัย” ตามแบบอย่างตะวันตกเช่นกัน
การศึกษาเพี่อความแปลกแยก ตอนที่ 2
เราเริ่มมีการศึกษาอย่างระบบหรืออย่างเป็นทางการในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งเป็นรัชสมัยที่เกิดการเปลี่ยนแปลงหลายด้านในลักษณะปฏิวัติ คืออะไรที่เราไม่เคยมีเราก็มี อย่างเช่นเรื่องการศึกษา อะไรที่เรามีแต่มันไม่ดีเราก็เปลี่ยนแปลง เช่นเรื่องการเลิกทาส ดังที่เราทราบกันดีอยู่แล้ว ทั้งนี้ก็เพื่อปรับตัวให้เข้ากับยุคสมัยที่เกิดการเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่ไปทั่วโลก อันเป็นผลมาจากการล่าอาณานิคมของประเทศตะวันตกทั้งหลาย
การศึกษาเพื่อความแปลกแยก ตอนที่ 1
คำถามที่ผมได้รับบ่อยที่สุด ทั้งในวงสัมนาและแวดวงครูอาจารย์ ก็คือ “ทำไมการศึกษาจึงวิกฤติ” คนอื่นๆเขาก็ยกสาเหตุของวิกฤติการศึกษากันมากมาย แต่ผมกลับฉงนว่า “เรามีการศึกษาด้วยหรือ”